ส่วนประกอบของ Harddisk

เป็นส่วนที่เป็นแผ่นวงกลมที่เห็นดังรูปทำหน้าที่ในการบันทึกข้อมูลที่ต้องการโดยจานแม่เหล็กจะถูกเคลือบด้วย Glass substrateโดยการบันทึกหรืออ่านข้อมูลจะใช้หัวอ่าน/เขียนข้อมูล

Spindle motor
จะเป็นส่วนที่ใช้ยึดแผ่นPlatterแต่ละอันและจะมี Spindle Motorเป็นตัวหมุนแผ่น Platter แต่ละอันด้วยความเร็วตามที่กำหนดไว้โดยมีหลายความเร็วที่ใช้อยู่โดยขึ้นอยู่ กับคุณสมบัติแต่ละรุ่นของ Harddiskโดยความเร็วที่ใช้อยู่ ตัวอย่างเช่น 7,200 รอบต่อวินาที 5,400 รอบต่อวินาที เป็นต้น
Actuator
Actuator
คือแขนของหัวอ่าน/เขียนข้อมูลเป็นชิ้นส่วนที่ใช้ยึดติดกับหัวอ่าน/เขียนข้อมูลโดยตรง ปลายแขนของมันซึ่งคุณสมบัติการเข้าค้นหาและเข้าถึงข้อมูลของhaddisk(seek time) ก็จะวัดจากการส่วนนี้

Headคือส่วนที่ใช้ในการอ่าน/เขียนข้อมูล ทำหน้าที่ในการอ่านและเขียนข้อมูลในPlatter

ชนิดของหัวอ่าน/เขียนข้อมูล1. แบบแกนเฟอร์ไรต์(Ferrite Heads)จะใช้ใน harddiskรุ่นแรกๆโดยหัวอ่านจะมี เส้นทองแดงพันรอบแกนเฟอร์ไรต์2. แบบ Thin-film แบบนี้หัวอ่านที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีขนาดเล็กกว่าโดยใช้ เทคโนโลยีของIC นำมาสร้างหัวอ่านแบบเวเฟอร์ที่ใช้อยู่โดยใช้เส้นทองแดงเดินรอบๆแผ่น เวเฟอร์นั้นทำให้มีขนาดของหัวอ่าน/เขียนมีขนาดเล็กลงและยังมีข้อดีคือทำให้ความหนาแน่น ในการบันทึกข้อมูลของแผ่น Platterเพิ่มขึ้นในขนาดแผ่น Platter เท่าเดิม
Harddisk controller
circuit เป็นแผงวงจรที่ใช้ในการควบคุมการทำงานของharddiskทั้งในส่วนของการบังคับการหมุนของ spindle motorการอ่านเขียนข้อมูลเป็นต้น
Harddisk controller
circuit เป็นแผงวงจรที่ใช้ในการควบคุมการทำงานของharddiskทั้งในส่วนของการบังคับการหมุนของ spindle motorการอ่านเขียนข้อมูลเป็นต้น

ชนิดของฮาร์ดดิสก์ (Hard Drive Disk)
Hard Disk แบ่งตามชนิดของการเชื่อมต่อ (Interface) ได้ 4 ชนิด คือ
1.แบบ IDE (Integrate Drive Electronics)
เป็น การเชื่อมต่อแบบเก่า โดยใช้สายแพขนาด 40 เส้น โดยที่สายแพ 1 เส้น สามารถเชื่อมต่อฮาร์ดดิสก์ได้ 2 ตัว ซึ่งในเมนบอร์ดจะมีขั้วต่อ IDE อยู่ 2 ขั้ว ดังนั้นจึงสามารถเชื่อมต่อฮาร์สดิสก์ได้สูงสุด 4 ตัว ส่วนความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่ 8.3 เมกกะไบต์/วินาที และขนาดความจุแค่ 504 MB.
2.แบบ E-IDE (Enhanced Integrated Drive Electronics)
เป็น IDE ชนิดหนึ่งที่พัฒนามาจากแบบเก่า เชื่อมต่อด้วยสายแพขนาด 80 เส้น มีความความเร้วเร็วในการถ่ายโอนมูลเพิ่มขึ้นมาสูงถึง 133 เมกะไบต์/วินาที และมีขนาดความจุมากกว่า 504 MB.
วิธีการรับส่งข้อมูลแบ่งเป็น 2 โหมด คือ
1) โหมด PIO (Program Input Output) เป็นการรับส่งข้อมูลโดยผ่านการประมวลผลของข้อมูลจาก Hard Disk เข้ามายัง CPU หรือส่งข้อมูลจาก CPU ไปยัง Hard Disk ดังนั้นจึงไม่เหมาะกับงานที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลใน Hard Disk บ่อยครั้ง หรือการทำงานพร้อมกันหลายๆ งาน (Multitasking Environment)
2) โหมด DMA (Direct Memory Access) การรับส่งข้อมุลชนิดนี้ จะอนุญาตให้อุปกรณ์ต่างๆ ส่งผ่านข้อมูลไปยังหน่วยความจำหลัก (RAM) ได้โดยตรงโดยที่ไม่ต้องไปติดต่อ CPU ก่อน ทำให้ CPU จัดการงานได้เร็วขึ้น
3.แบบ SCSI (Small Computer System Interface)
เป็น Interface ชนิดที่สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้ถึง 7-15 ชิ้น โดยการเชื่อมต่อแบบ SCSI นี้จะมีการ์ดสำหรับการควบคุมโดยเฉพาะ เรียกว่า “การ์ด SCSI” ซึ่งจะต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ โดยที่ SCSI 1 Board สามารถต่อได้ 2 Controller นั่นหมายความว่าจะสามารถต่ออุปกรณ์ได้สูงสุดถึง 30 ชิ้นเลยทีเดียว
ส่วนความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลสูงสุดจะอยู่ที่ 320 เมกะไบต์/วินาที และมีความเร็วในการหมุนของฮาร์สดิสก์ค่อนข้างสูงอยู่ที่ 10,000 และ 15,000 รอบต่อนาที ดังนั้นจึงเหมาะกับงานด้าน Server มากกว่า
4.แบบ Serial ATA
เป็น Interface ที่กำลังนิยมในปัจจุบัน ใช้เทคโนโลยีในการเชื่อมต่อแบบใหม่ที่เรียกว่า Serial ATA มีอัตราในการถ่ายโอนข้อมูลขั้นแรกสูงสุดถึง 150 เมกกะไบต์/วินาที
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น